ทดสอบปลายภาคให้นักศึกษาอ่านบทความต่อไปนี้ วิเคราะห์แสดงความคิดเห็น
1. แท็บเล็ตเพื่อการศึกษา ให้นักศึกษาอ่านบทความอย่างน้อย 3 บทความหรือมากกว่า ใช้ Keyword ว่า " แท็บเล็ตเพื่อการศึกษา " ให้เขียนเชื่อมโยง วิเคราะห์ลงในบล็อกของนักเรียน
1. แท็บเล็ตเพื่อการศึกษา ให้นักศึกษาอ่านบทความอย่างน้อย 3 บทความหรือมากกว่า ใช้ Keyword ว่า " แท็บเล็ตเพื่อการศึกษา " ให้เขียนเชื่อมโยง วิเคราะห์ลงในบล็อกของนักเรียน
แท็บเล็ต เป็นคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งที่มีขนาดเล็กกว่าคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค พกพาง่าย น้ำหนักเบา มีคีย์บอร์ดในตัว หน้าจอเป็นระบบสัมผัสปรับหมุนจอได้อัตโนมัติ แบตเตอรี่ใช้งานได้นานกว่าคอมพิวเตอร์พกพาทั่วไป
แท็บเล็ต สามารถตอบสนองต่อความต้องการทางการเรียนรู้รายบุคคล สามารถติดตามช่วยเหลือให้ผู้เรียนบรรลุผลการเรียนรู้ได้ เป็นสื่อที่ทำให้เกิดการสร้างปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมาย ซึ่งการเรียนรู้บางครั้งต้องอาศัย "การจำลองสถานการณ์" หรือ "การทดลองเสมือนจริง" ต่างๆ เพื่อการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น และช่วยแบ่งปันความรู้ประสบการณ์ผ่านช่องทางสื่อสารหรือเครือข่ายสังคมต่างๆ
การใช้แท็บเล็ต โดยให้ผู้เรียนและผู้สอนมีแท็บเล็ตเป็นของตนเองอย่างทั่วถึง เป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้เกิดการใช้อย่างมีประสิทธิผล โดยพบว่าการใช้แท็บเล็ตเป็นการสร้างแรงจูงใจของผู้เรียนและมีผลกระทบในทางบวกต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อีกทั้งช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เข้าถึงองค์ความรู้นอกห้องเรียนอย่างกว้างขวาง
ข้อดีของการใช้แท็บเล็ต คือ ตอบสนองต่อการเรียนรู้เป็นรายบุคคล เกิดการแบ่งปันประสบการณ์ซึ่งกันและกัน สามารถออกแบบหน่วยการเรียนรู้ได้ชัดเจน มีความยืดหยุ่น และสามารถส่งผลสะท้อนความก้าวหน้าทางการเรียนรู้จากเนื้อหาที่เรียนได้ดีและยังสามารถช่วยให้ผู้เรียนปรับปรุงตนเองในการเรียนรู้ได้
ส่วนข้อเสียของการใช้แท็บเล็ต คือ ในขณะนี้ประเทศไทยยังไม่มีหลักสูตรการเรียนการสอนโดยการใช้แท็บเล็ต ครูผู้สอนยังขาดทักษะในการใช้อุปกรณ์แท็บเล็ตในการจัดการเรียนการสอน ในขณะที่ผู้เรียนบางคนมีความพร้อมที่จะเรียน ยังไม่มีการสร้างเนื้อหาบทเรียนและกิจกรรมที่ใช้ประกอบการเรียนการสอน ทั้งยังไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบ ด้านการบำรุงรักษา การแก้ปัญหาเรื่องอุปกรณ์และการใช้งาน และมีการจำกัดผู้เรียนในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ (อินเตอร์เน็ต) ซึ่งทำให้ผู้เรียนขาดอิสระในการเรียนรู้
ที่มา : http://www.chusak.net/index
http://www.gotoknow.org
http://www.jrw.ac.th/web/index.php
2. อ่านบทความเรื่องสมาคมอาเซียนอ่านบทความอย่างน้อย 3 บทความหรือมากกว่า
ใช้ Keywordว่า
"สมาคมอาเซียน" ให้เขียนวิเคราะห์ ประเทศไทย ประเทศเพื่อนบ้าน
การเตรียมตัวเป็นครู นักเรียน นักศึกษา เพื่อไปสู่อาเซียนได้อย่างไร
สมาคมอาเซียน หรือ ASEAN Community Community ) ประกอบด้วย 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย สิงคโปร์ , อินโดนีเซีย , มาเลเซีย , ฟิลิปปินส์ , บรูไน , เวียดนาม , ลาว , พม่า และกัมพูชา มีประชากรรวมกันประมาณ 570 ล้านคน มีขนาดเศรษฐกิจที่โตมาก
สมาคมอาเซียน ในความตระหนักรู้และเข้าใจของคนไทย ไม่ว่าระดับประชาชนคนธรรมดา หรือเยาวชนรุ่นใหม่จะต้องให้ความสนใจเป้าหมายที่เรียกว่า 3 เสาหลักให้ถ่องแท้ ซึ่งหมายความว่า การศึกษาเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ในประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศและความเคลื่อนไหวของประเทศคู่เจรจาเป็นสิ่งจำเป็นอย่างมาก รวมถึงการอยู่ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยแนวใหม่ที่มุ่งความสำคัญและพัฒนาเรื่องสิทธิมนุษยชนระหว่างกัน และสิ่งที่เป็นเครื่องมือให้คนไทยสามารถเข้าใจ และเข้าถึง และสามารถพัฒนาให้ตนเองอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมั่นคง ปลอดภัย และเป็นสุข
สำรับการเตรียมตัวเข้าสมาคมอาเซียน คือ ปรับกรอบแนวคิดของตัวเองให้เปิดกว้าง ศึกษาให้เข้าใจถึงผลกระทบทุกด้าน ของการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน เพื่อการวางตัวให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่คืบคลานเข้ามา ซึ่งต้องทำทั้งในระดับปัจเจกบุคคล และระดับสมาคมวิชาชีพ สภาวิชาชีพ หรือคณะกรรมการวิชาชีพ
จนถึงขณะนี้มี MRAs ทั้งหมด 7 สาขาวิชาชีพได้แก่ วิศวกรรม (Engineering Services) พยาบาล (Nursing Services) สถาปัตยกรรม (Architectural Services) การสำรวจ (Surveying Qualifications) แพทย์ (Medical Practitioners) ทันตแพทย์ (Dental Practitioners) บัญชี (Accountancy Services) โดยเพิ่ม “การท่องเที่ยว” เป็นสาขาที่ 8
นอกจากนี้เราควรฝึกฝนเพิ่มทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร เพราะภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางของอาเซียน และควรเพิ่มการฝึกฝนภาษาที่ 4 ด้วย ที่พูดเช่นนี้อย่าเพิ่งงง เราสื่อสารด้วย ภาษาที่ 1.) ภาษาไทย ภาษาที่ 2.) ภาษาอังกฤษ ภาษาที่ 3.) ภาษาลาว (ส่วนใหญ่คนลาวฟังและพูดภาษาไทยได้ จึงไม่ค่อยมีปัญหาสำหรับคนไทย) และภาษาที่ 4.) ภาษาอาเซียน (เช่น มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน กัมพูชา หรือพม่า เป็นต้น เพื่อช่วยให้เกิดการติดต่อสื่อสารผ่านช่องทางสื่อสารทุกรูปแบบได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลตลอดไป
ประเทศเพื่อนบ้านกับสมาคมอาเซียน
สมาคมอาเซียน ในความตระหนักรู้และเข้าใจของคนไทย ไม่ว่าระดับประชาชนคนธรรมดา หรือเยาวชนรุ่นใหม่จะต้องให้ความสนใจเป้าหมายที่เรียกว่า 3 เสาหลักให้ถ่องแท้ ซึ่งหมายความว่า การศึกษาเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ในประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศและความเคลื่อนไหวของประเทศคู่เจรจาเป็นสิ่งจำเป็นอย่างมาก รวมถึงการอยู่ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยแนวใหม่ที่มุ่งความสำคัญและพัฒนาเรื่องสิทธิมนุษยชนระหว่างกัน และสิ่งที่เป็นเครื่องมือให้คนไทยสามารถเข้าใจ และเข้าถึง และสามารถพัฒนาให้ตนเองอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมั่นคง ปลอดภัย และเป็นสุข
สำรับการเตรียมตัวเข้าสมาคมอาเซียน คือ ปรับกรอบแนวคิดของตัวเองให้เปิดกว้าง ศึกษาให้เข้าใจถึงผลกระทบทุกด้าน ของการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน เพื่อการวางตัวให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่คืบคลานเข้ามา ซึ่งต้องทำทั้งในระดับปัจเจกบุคคล และระดับสมาคมวิชาชีพ สภาวิชาชีพ หรือคณะกรรมการวิชาชีพ
จนถึงขณะนี้มี MRAs ทั้งหมด 7 สาขาวิชาชีพได้แก่ วิศวกรรม (Engineering Services) พยาบาล (Nursing Services) สถาปัตยกรรม (Architectural Services) การสำรวจ (Surveying Qualifications) แพทย์ (Medical Practitioners) ทันตแพทย์ (Dental Practitioners) บัญชี (Accountancy Services) โดยเพิ่ม “การท่องเที่ยว” เป็นสาขาที่ 8
นอกจากนี้เราควรฝึกฝนเพิ่มทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร เพราะภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางของอาเซียน และควรเพิ่มการฝึกฝนภาษาที่ 4 ด้วย ที่พูดเช่นนี้อย่าเพิ่งงง เราสื่อสารด้วย ภาษาที่ 1.) ภาษาไทย ภาษาที่ 2.) ภาษาอังกฤษ ภาษาที่ 3.) ภาษาลาว (ส่วนใหญ่คนลาวฟังและพูดภาษาไทยได้ จึงไม่ค่อยมีปัญหาสำหรับคนไทย) และภาษาที่ 4.) ภาษาอาเซียน (เช่น มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน กัมพูชา หรือพม่า เป็นต้น เพื่อช่วยให้เกิดการติดต่อสื่อสารผ่านช่องทางสื่อสารทุกรูปแบบได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลตลอดไป
ประเทศเพื่อนบ้านกับสมาคมอาเซียน
จุดเด่นของประเทศเพื่อนบ้าน
พม่า : สาขาเกษตรและประมง
มาเลเซีย : สาขาผลิตภัณฑ์ยาง และสาขาสิ่งทอ
อินโดนีเซีย : สาขาภาพยนต์และสาขาผลิตภัณฑ์ไม้
ฟิลิปปินส์ : สาขาอิเล็กทรอนิกส์
สิงคโปร์ : สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาสุขภาพ
ระหว่างประเทศเพื่อนบ้านกับประเทศไทยจะมีการขนส่งจากท่าเทียบเรือทางทะเลฝั่งขวาไปยังฝั่งซ้าย เวียดนาม-ไทย-พม่า มีระยะทางติดต่อกันโดยประมาณ 1,300 กม.อยู่ในเขตประเทศไทยถึง 950 กม. ลาว 250 กม. เวียนดนาม 84 กม.
มันจะมีผลที่ดีคือ การขนส่ง logistic ใน AEC จะพัฒนาอีกมาก และจากการที่ไทยอยู่ตรงกลางทำให้เราขายของได้มากขึ้นเพราะเราจะส่งของไปท่าเรือทางฝั่งซ้ายก็ได้ ทางฝั่งขวาก็ได้ ที่ดินในไทยบริเวณดังกล่าวก็น่าจะมีราคาสูงขึ้นและที่พม่ายังมี โครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ หรือโครงการ “ทวาย” ที่เส้นทางสอดคล้องกับ East West Economic Corridor โดยทวายจะกลายเป็นทางออกสู่ทะเลจุดใหม่ที่สำคัญมากต่ออาเซียน เพราะในอดีตทางออกสู่มหาสมุทรอินเดียจำเป็นต้องใช้ท่าเรือของสิงคโปร์เท่านั้น ขณะเดียวกันโปรเจกต์ทวายนี้ยังเป็นต้นทางรับสินค้าจากฝั่งมหาสมุทรอินเดียหรือสินค้าที่มาจากฝั่งยุโรปและตะวันออกกลาง โดยเฉพาะสินค้ากลุ่มพลังงานไม่ว่าจะเป็นน้ำมัน ก๊าซ ซึ่งจะถูกนำเข้าและแปรรูปในโรงงานปิโตรเคมีภายในพื้นที่โปรเจกต์ทวาย เพื่อส่งผ่านไทยเข้าไปยังประเทศกลุ่มอินโดจีนเช่น ลาว กัมพูชา และไปสิ้นสุดปลายทางยังท่าเรือดานังประเทศเวียดนาม และจะถูกส่งออกไปยังเอเชียตะวันออกอย่างญี่ปุ่นและจีน
การเตรียมตัวเป็นครู นักเรียน นักศึกษา เพื่อไปสู่อาเซียน
1. ควรมีความสนใจและตระหนักถึงผลที่เกิดขึ้น อันเนื่องมาจากการรวมตัวของประเทศต่างๆ สู่ประชาคมอาเซียน ทั้งในด้านประโยชน์ที่ได้รับและข้อควรระวัง
2. การเกิดขึ้นของประชาคมอาเซียน ในด้านการเรียนรู้จำเป็นต้องปรับทั้งกระบวนการเรียนรู้ ปรับทัศนคติที่จะต้องตระหนักถึงความเป็นชาติ และการดำรงอยู่ของรัฐบาลไทยเพิ่มมากขึ้น
3. ปรับกระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้ยุคใหม่ควรเป็นไปอย่างมีเป้าหมาย อย่างคนที่รู้เท่าทันสถานการณ์
4. จำเป็นต้องตระหนักถึงความเป็นชาติ
5. พัฒนาความเป็นคนมีวินัย มุ่งเน้นความสามารถในการดำรงชีวิตภายใต้วัฒนธรรมของสังคม
6. สร้างความสามารถในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น ควรพัฒนาตนเองให้แน่ใจว่า สามารถทำงานกับผู้คนต่างวัฒนธรรมได้
7. เรียนรู้ประเทศเพื่อนบ้านทั้งในด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
8. สร้างโอกาสในการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ต้องเพิ่มทักษะทางด้านภาษาอังกฤษให้มากขึ้นให้สามารถสื่อสารได้
3.
อ่านบทความครูกับภาวะผู้นำของ ผศ.ดร.สมาน คำฟูแสง ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับครู
ให้ยกตัวอย่าง ประกอบ แสดงความคิดเห็น บทความ ผศ.ดร.สมาน คำฟูแสง
การที่จะเป็นครูให้เป็นที่ยอมรับของนักเรียน
ผู้ปกครอง หรือเพื่อนครูด้วยกันนั้น ครูนั้นจะต้องเป็นคนที่มีความสามารถ มีความรอบรู้ในด้านศาสตร์นั้น ครูต้องสร้างแรงบันดาลใจ สร้างแรงศรัทธาให้นักเรียนเกิดความรักในการที่จะเรียน
สร้างความไว้วางใจต่อนักเรียน ยอมรับฟังในเหตุและผลของนักเรียน เข้าใจและเอาใจใส่ มีความยุติธรรมในทุกๆ ด้าน และการที่จะทำให้นักเรียนเป็นคนเก่งเป็นที่รักของทุกๆ
คน คนเป็นครูจะต้องสอนให้เด็กนักเรียนรู้จักแสดงออกซึ่งการเป็นผู้นำ ท้าท้ายให้เด็กได้ใช้ความคิดเพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
4.
ให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและประเมินวิชานี้ว่า การเรียนรู้โดยใช้บล็อก
นักศึกษามีวิธีการเรียนรู้อย่างไร แสดงความคิดเห็นหากจะเรียนรู้โดยใช้บล็อก
ต่อไปข้างหน้าโอกาสจะเป็นอย่างไร ควรที่จะให้คะแนนวิชานี้อย่างไร
และหานักเรียนต้องการจะได้เกรดในวิชานี้ นักเรียนจะต้องพิจารณาว่า
4.1ตนเองมีความพยายามมากน้อยเพียงใด
4.2เข้าเรียนทุกครั้งไม่เคยขาดเรียน
4.3ทำงานส่งผ่านบล็อกตามกำหนดทุกครั้งที่อาจารย์สั่งงาน
4.4ทำงานบทบล็อกด้วยความคิดของตนเองไม่ใช้ความคิดคนอื่น
4.5 สิ่งที่นักเรียนตอบมานั้นเป็นความสัตย์จริง เขียนอธิบายลงในบล็อก
4.6 อาจารย์จะพิจารณาจากผลงานและความตั้งใจ ความสื่อสัตย์ตนเอง และบอกเกรดว่าควรจะได้เท่าไร แสดงความคิดเห็น
4.1ตนเองมีความพยายามมากน้อยเพียงใด
4.2เข้าเรียนทุกครั้งไม่เคยขาดเรียน
4.3ทำงานส่งผ่านบล็อกตามกำหนดทุกครั้งที่อาจารย์สั่งงาน
4.4ทำงานบทบล็อกด้วยความคิดของตนเองไม่ใช้ความคิดคนอื่น
4.5 สิ่งที่นักเรียนตอบมานั้นเป็นความสัตย์จริง เขียนอธิบายลงในบล็อก
4.6 อาจารย์จะพิจารณาจากผลงานและความตั้งใจ ความสื่อสัตย์ตนเอง และบอกเกรดว่าควรจะได้เท่าไร แสดงความคิดเห็น
การเรียนการสอนวิชาการบริหารจัดการในชั้นเรียน
เป็นการเรียนการสอนโดยใช้บล็อก ซึ่งเป็นวิธีการเรียนรู้ที่ต้องใช้เทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้อง
ซึ่งไม่เคยเรียนมาก่อนแต่พอได้มาเรียนจึงทำให้เกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ซึ่งการเรียนรู้โดยใช้บล็อกสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ และสามารถนำเอาความรู้ที่ได้เรียนไปใช้ในการเรียนการสอนได้ในอนาคต และสามารถนำเอาความรู้เรื่องการใช้บล็อกไปสอนเด็กได้ในอนาคต
สำหรับการเรียนวิชานี้ดิฉันคิดว่าควรได้เกรด A เพราะดิฉันมีความพยายามในการเรียนมากเพราะว่าปกติดิฉันจะไม่ค่อยเข้าใจในระบบต่างๆของคอมพิวเตอร์มากนัก ดิฉันตั้งใจเรียนเป็นอย่างมากและพยายามทำงานทุกชิ้นอย่างเต็มที่และสุดความสามารถของดิฉัน
สำหรับการเรียนวิชานี้ดิฉันคิดว่าควรได้เกรด A เพราะดิฉันมีความพยายามในการเรียนมากเพราะว่าปกติดิฉันจะไม่ค่อยเข้าใจในระบบต่างๆของคอมพิวเตอร์มากนัก ดิฉันตั้งใจเรียนเป็นอย่างมากและพยายามทำงานทุกชิ้นอย่างเต็มที่และสุดความสามารถของดิฉัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น